インバウンドでタイ人を集客! 事例多数で万全の用意 [PR]
ナムジャイブログ

2012年07月30日

タイ語

ภาษาไทย(タイ語)

ภาษาไทย(タイ語)เป็น(~である)ภาษาทางการ(公用語)ของ(~の)ประเทศไทย(タイ国) และ(そして)ภาษาแม่(母国語)ของ(~の)ชาวไทย(タイ国民) และ(そして)ชน(相反する)เชื้อสาย(系統)อื่น(他の)ใน(~内の)ประเทศไทย(タイ国) ภาษาไทย(タイ語)เป็น(~である)ภาษา(言語)ใน(~の中の)กลุ่ม(グループ)ภาษาไต(南部の言葉) ซึ่ง(関係代名詞)เป็นกลุ่ม(ひとまとめにして)ย่อย(重要でない)ของ(~の)ตระกูล(系統・族)ภาษาไท-กะได(カダイ・タイ語) สันนิษฐาน(推測する)ว่า(~言う) ภาษา(言語)ใน(~の中の)ตระกูลนี้(この系統)มี(~を持つ)ถิ่นกำเนิด(発祥の地)จาก(から)ทาง(~の方面)ตอน(地区)ใต้(南部)ของ(~の)ประเทศจีน(中国) และ(そして)นักภาษาศาสตร์(言語学者)บาง(幾つかの)ท่าน เสนอ(申し出る、提案する)ว่า(~という) ภาษาไทย(タイ語)น่าจะมี ความเชื่อมโยง(結び付く)กับ(~と) ตระกูล(系統・族)ภาษาออสโตร-เอเชียติก(オーストロ・アジア語) ตระกูล(系統・族)ภาษาออสโตรนี(オーストロ言語)เซียน(巨匠, 大家) ตระกูล(系統・族)ภาษาจีน-ทิเบต(中国・チベット語)

ภาษาไทย(タイ語)เป็น(~である)ภาษา(言語)ที่(関係代名詞)มีระดับ(高級な)เสียง(音声)ของ(~の)คำ(単語)แน่นอน(確実に)หรือ(又は)วรรณยุกต์(四声調)เช่น(~のような)เดียวกับ(~に関する)ภาษาจีน(中国語) และ(そして)ออกเสียง(発音する)แยก(分かれる)คำต่อ(接続語)คำเป็น(である)ที่(関係代名詞)ลำบาก(難しい)ของ(~の)ชาวต่างชาติ(外国人)เนื่อง(~のため、の結果)จาก(~から) การออกเสียง(発音)วรรณยุกต์(四声点)ที่(関係代名詞)เป็น(~である)เอกลักษณ์(独自性)ของ(~の)แต่(しかし)ละ(各)คำ(単語) และ(そして)การสะกด(魅了する)คำ(単語)ที่(関係代名詞)ซับซ้อน(複雑な) นอกจาก(~を除いて)ภาษากลาง(中部の言語)แล้ว ในประเทศไทย(タイ国内の)มีการใช้(語法、慣用法) ภาษาไทย(タイ語)ถิ่น(地方)อื่น(他の)ด้วย(~も)


ชื่อภาษาและที่มา

คำว่า(~という単語) ไทย(タイ) หมายความว่า(意味します) อิสรภาพ(自由) เสรีภาพ(解放) หรือ(又は)อีก(さらに)ความหมาย(定義)หนึ่งคือ ใหญ่(大きい) ยิ่งใหญ่(巨大な) เพราะ(のり理由で)การ จะเป็น(である)อิสระ(自由に)ได้(できる)จะต้องมี กำลัง(力)ที่(関係代名詞)มากกว่า(より大きな) แข็งแกร่งกว่า(活気に溢れた、力強い) เพื่อ(so that)ป้องกัน(防ぐ、守る)การรุกราน(侵略・侵犯)จาก(~から)ข้าศึก(敵) แม้(ではあるが)คำนี้(この語)จะมี รูป เหมือน คำยืม(外来語)จาก(~から)ภาษาบาลี(パーリ語)สันสกฤต(サンスクリット) แต่(しかし)แท้(本当の)ที่(関係代名詞)จริงแล้ว คำนี้(この語)เป็น(~である)คำไทย(タイ語句)แท้()ที่เกิด จาก(~から)กระบวน การสร้าง คำที่เรียกว่า 'การลาก คำเข้าวัด' ซึ่ง(関係代名詞)เป็น(~である)การลาก ความวิธีหนึ่ง ตาม หลัก คติ ชน วิทยา คนไทย(タイ人)เป็น(~である)ชนชาติ()ที่(関係代名詞)นับถือกัน ว่า(~という) ภาษาบาลี(パーリ語)ซึ่ง(関係代名詞)เป็น(~である)ภาษา(言語)ที่(関係代名詞)บันทึก พระธรรม คำสอน ของ(~の)พระพุทธเจ้า(仏陀)เป็น(~である)ภาษาอัน(言語)ศักดิ์สิทธิ์(神聖な)และ(そして)เป็น(~である)มงคล(好都合、縁起がよい) เมื่อ คนไทย(タイ人)ต้องการ ตั้งชื่อ ประเทศ(国)ว่า(~という) ไท(タイ) ซึ่ง(関係代名詞)เป็น(~である)คำไทย แท้ จึง เติม ตัวย เข้าไป ข้างท้าย เพื่อ(~のための)ให้มี ลักษณะ คล้ายคำ ใน(~の中の)ภาษาบาลี(パーリ語)สันสกฤต เพื่อ(~のための)ความเป็น มงคล ตาม(~に続く)ความเชื่อ ของ(~の)ตน(自身) ภาษาไทย(タイ語)จึง(したがって)หมายถึง(~の意味をもつ)ภาษา(言語)ของ(~の)ชนชาติไทย(タイ国民)ผู้เป็น(関係代名詞:who)ไท(タイ族)นั่นเอง



หน่วยเสียง(音素)

ภาษาไทย(タイ語)ประกอบด้วย(~で構成されている)หน่วย(構成単位)เสียง(音)สำคัญ(重要な) 3ประเภท(3部門) คือ(すなわち)

1.หน่วยเสียงพยัญชนะ(パヤンチャナ:子音)
2.หน่วยเสียงสระ(サラ:母音)
3.หน่วยเสียงวรรณยุกต์(ワンナユック:四声点)


พยัญชนะ(パヤンチャナ:子音)

พยัญชนะ(子音)ต้น(主要部、幹)ภาษาไทย(タイ語)แบ่งแยก(区別・分別)รูปแบบ(類型)เสียง(音)พยัญชนะ(子音)ก้อง(反響する)และ(そして)พ่นลม(息を吹く) ในส่วนของเสียงกักและเสียงผสมเสียดแทรก เป็นสามประเภทดังนี้

เสียงไม่ก้อง(反響しない音) ไม่พ่นลม(息を吹かないで)
เสียงไม่ก้อง(反響しない音) พ่นลม(息を吹く)
เสียงก้อง(反響する音) ไม่พ่นลม(息を吹かないで)
หาก(分ける、分離する)เทียบ(比較して)กับ(~と)ภาษาอังกฤษ(英語) โดยทั่วไป(一般に、概して)มีเสียง(音がある)แบบ(型)ที่(関係代名詞)สอง(第2)กับ(と)สาม(第3)เท่านั้น(だけ) เสียงแบบ(~型の音)ที่(関係代名詞)หนึ่งพบได้เฉพาะ(特有の、特定の)เมื่ออยู่หลัง s ซึ่ง(すなわち)เป็นเสียงแปร(異音)ของ(~の)เสียงที่สอง(第2の音)

เสียงพยัญชนะ(子音)ต้นโดยรวมแบ่งเป็น 21 เสียง(音) ตารางด้านล่างนี้บรรทัดบนคือสัทอักษรสากล บรรทัดล่างคืออักษรไทย(タイ文字)ในตำแหน่งพยัญชนะต้น (อักษรหลายตัว(数種類の文字)ที่(関係代名詞)ปรากฏ(思われる)ใน(~の中の)ช่อง(分節)ให้เสียงเดียวกัน) ล่างสุดอักษรโรมัน(ローマ字)ตาม(続く)ราชบัณฑิต(王立研究所)ติญสถานนะครับ



พยัญชนะ(子音)สะกดถึงแม้ว่า(…であるが、たとえ…としても)พยัญชนะ(子音)ไทยมี 44 รูป(様式) 21 เสียงในกรณี(…の場合には)ของ(~の)พยัญชนะต้น(主要部、幹)) แต่(しかし)ในกรณี(…の場合には)พยัญชนะ(子音)สะกดแตกต่าง(異なる)ออกไป สำหรับ(for)เสียงสะกดมีเพียง 8 เสียง(音) และ(そして)รวมทั้งไม่มีเสียงด้วย เรียกว่า(~と呼ぶ) มาตรา เสียงพยัญชนะ(子音)ก้อง(反響する)เมื่ออยู่ใน(~の中に)ตำแหน่ง(位置、場所)ตัวสะกด ความก้องจะหายไป(消滅する)

ในบรรดา(~の中で)พยัญชนะไทย(タイ語子音) นอกจาก(~の外側) ฃ และ(及び) ฅ ที่เลิกใช้แล้ว ยังมีพยัญชนะ(子音)อีก 6 ตัว(文字)ที่(関係代名詞)ใช้เป็นตัวสะกด(音節を表す綴り)ไม่ได้คือ ฉ ผ ฝ ห อ ฮ ดังนั้นมันจึงเหลือเพียง 36 ตัวตามตาราง ล่างสุดอักษรโรมันตามราชบัณฑิตติญสถานนะครับ



กลุ่มพยัญชนะ(子音)แต่ละ(各)พยางค์(音節)ใน(~の中の)คำหนึ่ง ๆ(一つ一つの) ของ(~の)ภาษาไทย(タイ語)แยกออก(分解される)จากกัน(相互に分解されて)อย่างชัดเจน (ไม่เหมือน ภาษาอังกฤษ(英語)ที่พยัญชนะสะกดอาจกลายเป็นพยัญชนะต้นในพยางค์ถัดไป หรือในทางกลับกัน) ดังนั้นพยัญชนะ(子音)หลายตัวของพยางค์ที่(関係代名詞)อยู่ติดกันจะไม่รวมกันเป็น(~である)กลุ่ม(グループ)พยัญชนะ(子音)เลย

ภาษาไทย(タイ語)มีกลุ่ม(グループ)พยัญชนะ(子音)เพียงไม่กี่(いくつ)กลุ่ม(グループ) ประมวล(成文化する、編集する)คำศัพท์(語彙・用語)ภาษาไทย(タイ語)ดั้งเดิม ระบุว่ามีกลุ่มพยัญชนะ (ที่ออกเสียงรวมกันโดยไม่มีสระอะ) เพียง 11 แบบ(型)เท่านั้น(だけ) เรียกว่า(~と呼ぶ) พยัญชนะ(子音)ควบ(組み合わせる)กล้ำ(混ぜて) หรือ(又は) อักษรควบกล้ำ(子音群)

/kr/ (กร), /kl/ (กล), /kw/ (กว)
/kʰr/ (ขร,คร), /kʰl/ (ขล,คล), /kʰw/ (ขว,คว)
/pr/ (ปร), /pl/ (ปล)
/pʰr/ (พร), /pʰl/ (ผล,พล)
/tr/ (ตร)

พยัญชนะ(子音)ควบ(組み合わせる)กล้ำ(混合する)มีจำนวน(量、数)เพิ่มขึ้น(増える)อีกเล็กน้อย(少し)จาก(から)คำยืม(借用語)ภาษาต่างประเทศ(外国語) อาทิ(例えば) อินทรา จาก(から)ภาษาสันสกฤต(サンスクリット語) พบว่าใช้ /tʰr/ (ทร), ฟรี จาก(から)ภาษาอังกฤษ(英語) พบว่าใช้ /fr/ (ฟร) เป็น(である)ต้น เราสามารถสังเกตได้ว่า กลุ่มพยัญชนะเหล่านี้ถูกใช้เป็น(である)พยัญชนะ(子音)ต้นเท่านั้น ซึ่ง(関係代名詞)มีเสียงพยัญชนะ(子音の発音)ตัวที่สองเป็น ร ล หรือ(又は) ว และ(そして)กลุ่ม(系、グループ)พยัญชนะ(子音)จะมีเสียงไม่เกินสองเสียงในคราวเดียว การผันวรรณยุกต์ของคำขึ้นอยู่กับไตรยางศ์ของพยัญชนะตัวแรก


สระ(母音)

เสียงสระ(母音の音)ใน(~の中の)ภาษาไทย(タイ語)แบ่ง(分けられる)ออกเป็น(分割) 3 ชนิด(種類)คือ(すなわち) สระเดี่ยว(単母音) สระประสม(連母音) และ(そして)สระเกิน สะกดด้วยรูปสระ(母音字体)พื้นฐาน(基部)หนึ่ง(一つの)ตัว(字体)หรือ(又は)หลาย(幾つかの)ตัว(字体)ร่วมกัน(共に) <ดูที่ อักษรไทย(タイ文字)>

สระเดี่ยว(単母音) หรือ(又は) สระแท้(本当の) คือ(すなわち)สระ(母音)ที่(関係代名詞)เกิดจาก(由来する)ฐานเพียง ฐานเดียว มีทั้งสิ้น(全) 18 เสียง(音) ล่างสุด(最も低い)อักษรโรมัน(ローマ字)ตาม(~に続く)ราชบัณฑิตยสถาน(王立研究所)


สระประสม(連母音) คือ(すなわち)สระ(母音)ที่(関係代名詞)เกิดจาก(~から)สระเดี่ยว(単母音)สองเสียง(二音)มาประสมกัน(構成する) เกิดการเลื่อน ของ(~の)ลิ้น(舌)ใน(~の中の)ระดับสูง(上級の)ลดลง(下げる)สู่(~に達する)ระดับ(級、段階)ต่ำ(低い) ดังนั้น(それゆえに)จึงสามารถ(有能)เรียก(呼ぶ)อีก(再び)ชื่อ(名)หนึ่ง(一つ)ว่า(~という) "สระเลื่อน" มี 3 เสียงดังนี้

เ–ีย /iaː/ ประสมจากสระ อี และ อา ia
เ–ือ /ɯaː/ ประสมจากสระ อือ และ อา uea
–ัว /uaː/ ประสมจากสระ อู และ อา ua
ในบาง(いくつかの)ตำรา(テキスト)จะเพิ่มสระสระประสม(連母音)เสียงสั้น(短い音) คือ(すなわち) เ–ียะ เ–ือะ –ัวะ ด้วย(~も) แต่(しかし)ในปัจจุบัน(現今では)สระเหล่านี้(これら母音)ปรากฏ(現れる、明らかにする)เฉพาะ(明確な,具体的な)คำเลียน(模倣語)เสียง(音)เท่านั้น(だけ) เช่น(例えば) เพียะ เปรี๊ยะ(流暢な) ผัวะ(プア) เป็นต้น(例えば)


สระ(母音)เกิน คือ(すなわち)สระ(母音)ที่(関係代名詞)มีเสียง(音がある)ของ(~の)พยัญชนะ(子音)ปนอยู่(混ぜている) มี(~がある) 8 เสียงดังนี้

–ำ /am, aːm/ am ประสมจาก(~を合わせた) อะ + ม (อัม)เช่น(例) ขำ บางครั้ง(時には)ออกเสียง(発音)ยาว(長い)เวลาพูด(言う) (อาม)เช่น น้ำ
ใ– /aj, aːj/ ai ประสมจาก(~を合わせた) อะ + ย (อัย)เช่น(例) ใจ บางครั้ง(時には)ออกเสียง(発音)ยาว(長い)เวลาพูด(言う) (อาย)เช่น(例) ใต้
ไ– /aj, aːj/ ai ประสมจาก(~を合わせた) อะ + ย (อัย)เช่น(例) ไหม้ บางครั้ง(時には)ออกเสียง(発音)ยาว(長い)เวลาพูด(言う) (อาย)เช่น(例) ไม้
เ–า /aw, aːw/ ao ประสมจาก(~を合わせた) อะ + ว (เอา)เช่น(例) เกา บางครั้ง(時には)ออกเสียง(発音)ยาว(長い)เวลาพูด(言う) (อาว)เช่น(例) เก้า
ฤ /rɯ/ rue,ri,roe ประสมจาก(~を合わせた) ร + อึ (รึ)เช่น(例) ฤกษ์ บางครั้ง(時には)เปลี่ยน(変わる)เป็น /ri/ (ริ)เช่น(例) กฤษณะ หรือ /rɤː/ (เรอ)เช่นฤกษ์
ฤๅ /rɯː/ rue ประสมจาก(~を合わせた) ร + อือ (รือ)
ฦ /lɯ/ lue ประสมจาก(~を合わせた) ล + อึ (ลึ)
ฦๅ /lɯː/ lue ประสมจาก(~を合わせた) ล + อือ (ลือ)
บางตำราก็ว่าสระเกินเป็นพยางค์ ไม่ถูกจัดว่าเป็นสระ

สระ(母音)บาง(幾つかの)รูป(形)เมื่อมีพยัญชนะ(子音)สะกด(綴る) จะมีการเปลี่ยนแปลง(変更、修正)รูปสระ(母音文字) สามารถ(できる)สรุป(要約する)ได้(できる)ตาม(続く、継いで)ตารางด้านขวา

¹ คำ(単語)ที่สะกด(綴る)ด้วย –ะ + ว นั้นไม่มี เพราะซ้ำกับ –ัว แต่เปลี่ยนไปใช้ เ–า แทน
² คำ(単語)ที่สะกด(綴る)ด้วย –อ + ร จะลดรูป(省略する)เป็น –ร ไม่มีตัวออ เช่น(例えば) พร ศร จร ซึ่งก็จะไปซ้ำกับสระ โ–ะ ดังนั้นคำที่สะกดด้วย โ–ะ + ร จึงไม่มี
³ คำ(単語)ที่สะกด(綴る)ด้วย เ–อ + ย จะลดรูป(省略する)เป็น เ–ย ไม่มีพินทุ์อิ เช่น(例えば) เคย เนย เลย ซึ่ง(関係代名詞)ก็(~も)จะไปซ้ำกับสระ(母音) เ– ดังนั้นคำที่สะกด(綴る)ด้วย เ– + ย จึงไม่มี
⁴ พบได้น้อยคำ(単語)เท่านั้น(だけ)เช่น(例えば) เทอญ เทอม
⁵ มีพยัญชนะ(子音)สะกด((綴る)เป็น(である) ย เท่านั้น(だけ) เช่น(例えば) ไทย ไชย



ไวยากรณ์(文法)

ภาษาไทย(タイ語)เป็น(~である)ภาษาคำโดด(孤立語) คำ(単語)ใน(~の中の)ภาษาไทย(タイ語)จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปไม่ว่าจะอยู่ในกาล (tense) การก (case) มาลา (mood) หรือวาจก (voice) ใดก็ตาม คำในภาษาไทยไม่มีลิงก์ (gender) ไม่มีพจน์ (number) ไม่มีวิภัตติปัจจัย แม้คำที่รับมาจากภาษาผันคำ (ภาษาที่มีวิภัตติปัจจัย) เป็นต้นว่าภาษาบาลีสันสกฤต เมื่อนำมาใช้ในภาษาไทย ก็จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูป คำในภาษาไทยหลายคำไม่สามารถกำหนดหน้าที่ของคำตายตัวลงไปได้ ต้องอาศัยบริบทเข้าช่วยในการพิจารณา เมื่อต้องการจะผูกประโยค ก็นำเอาคำแต่ละคำมาเรียงติดต่อกันเข้า ภาษาไทยมีโครงสร้างแตกกิ่งไปทางขวา คำคุณศัพท์จะวางไว้หลังคำนาม ลักษณะทางวากยสัมพันธ์โดยรวมแล้วจะเป็นแบบ 'ประธาน-กริยา-กรรม'



การยืมคำ(語)จาก(から)ภาษาอื่น(他言語)

ภาษาไทย(タイ語)เป็น(~である)ภาษาหนึ่ง(一言語)ที่(関係代名詞)มีการยืมคำมาจากภาษาอื่นๆ(他の言語)ค่อนข้างสูงมาก มีทั้งแบบยืมมาจากภาษาในตระกูลภาษาไท-กะได ด้วยกันเอง และข้ามตระกูลภาษา โดยส่วนมากจะยืมมาจากภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต และภาษาเขมร ซึ่งมีทั้งรักษาคำเดิม ออกเสียงใหม่ สะกดใหม่ หรือเปลี่ยนความหมายใหม่ อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างรวมกัน

บางครั้งเป็น(~である)การยืมมา(借りて来た、借用)ซ้อน(重なり合う、共通点のある)คำ(語) เกิดเป็นคำซ้อน(共通語) คือ(つまり) คำย่อย(準、小)ใน(の中の)คำหลัก(基本語) มีความหมาย(定義する)เดียวกัน(同じ)ทั้งสอง(両方とも) เช่น

ดั้งจมูก(鼻柱) โดยมีคำว่า(~という単語)ดั้ง(鼻孔) เป็น(である)คำ(単語)ใน(~の中の)ภาษาไต(タイ語族系) ส่วนจมูก เป็น(である)คำ(単語)ใน(~の中の)ภาษาเขมร(クメール語)
อิทธิฤทธิ์ มาจาก อิทธิ (イッティ) ใน(~の中の)ภาษาบาลี(パーリ語) ซ้อน(重なり合う、共通する)กับ(~と)คำว่า(~という単語) ฤทธิ (ṛddhi) ใน(~の中の)ภาษาสันสกฤต(サンスクリット語) โดย(~のために、~として)ทั้งสอง(2つ両方とも)คำมีความหมาย(定義する)เดียวกัน(同じ)


คำ(単語)ที่(関係代名詞)ยืม(借用する)มา(来る)จาก(~から)ภาษาบาลี(パーリ語)-สันสกฤต(サンスクリット語)

คำ(単語)จำนวนมาก(たくさんの)ใน(~の中の)ภาษาไทย(タイ語) ไม่ใช้(~ではない)คำ(単語)ใน(~の中の)กลุ่ม(系、グループ)ภาษาไต(タイ語族) แต่(しかし)เป็น(~である)คำ(単語)ที่(関係代名詞)ยืมมาจาก(借りて来た)กลุ่ม(系、グループ)ภาษาสันสกฤต(サンスクリット語)-ปรากฤต โดยมีตัวอย่าง(例)ดังนี้

รักษารูปเดิม(由来) หรือ(又は)เปลี่ยนแปลง(いろいろ変更する)เล็กน้อย(少し)
วชิระ (บาลี:วชิระ [ヴァジラ]), วัชระ (สันส:วัชร [ヴァジラ])
ศัพท์ 語彙・単語 (สันส:ศัพทะ [サプダ]), สัท (เช่น สัทอักษร) (บาลีパーリ語:สัททะ [サッタ])
อัคนี 火成(岩)の และ อัคคี (สันส:อัคนิ [アクニ] บาลี:อัคคิ [アッギ])
โลก (โลก) 世界・地球 - (บาลี-สันส:โลกะ [ロカ])
ญาติ (ยาด) 相関的な - (บาลี:ญาติ (ยา-ติ) [ヤ~ティ])
เสียง พ มักแผลงมาจาก ว
เพียร 粘り強さ (มาจาก พิริยะ และมาจาก วิริยะ อีกทีหนึ่ง) (สันส:วีรยะ [ヴィリャ], บาลี:วิริยะ [ヴィリヤ)
พฤกษา 花々(สันส:วฤกษะ [vṛkṣa])
พัสดุ 小包(สันส: [vastu] (วัสตุ); บาลี: [ヴァットゥ])
เสียง -อระ เปลี่ยนมาจาก(~から変えてきた) -ะระ
หรดี 南西(หอ-ระ-ดี) (บาลี:หรติ [ハラティ] (หะระติ))
เสียง ด มักแผลงมาจาก ต
หรดี (หอ-ระ-ดี) (บาลี:หรติ [ハラティ] (หะระติ))
เทวดา (บาลี:เทวะตา [テワタ])
วัสดุ 材料 และ วัตถุ (สันส: [ヴァストゥ] (วัสตุ); บาลี: [ヴァストゥ] (วัตถุ))
กบิลพัสดุ์ カピラ城(กะ-บิน-ละ-พัด) (สันส: [カピラヴァストゥ] (กปิลวัสตุ); บาลี: [カピラヴァストゥ] (กปิลวัตถุ))
เสียง บ มักแผลงมาจาก ป
กบิลพัสดุ์ (กะ-บิน-ละ-พัด) (สันส: [カピラヴァストゥ] (กปิลวัสตุ); บาลี: [カピラヴァストゥ] (กปิลวัตถุ))
บุพเพ 前の และ บูรพ (บาลี(パーリ語): [プッパ] (ปุพพ))

Thai language, alphabet and pronunciation

http://www.omniglot.com/writing/thai.htm



同じカテゴリー(単語集)の記事

Posted by タマリンドー at 04:35 │単語集